เมื่อเจ็บป่วย

การสวนหัวใจด้านขวาเรียกว่าสายสวนหลอดเลือดแดงปอด เพื่อค้นหาว่าหัวใจและหลอดเลือดทำงานได้ดีเพียงใด และรักษาโรคหัวใจ สายสวนหลอดเลือดหัวใจส่วนใหญ่จะทำในห้องปฏิบัติการ

เป็นการตีบของ carotid artery หลอดเลือดแดงนี้เป็นหลอดเลือดหลักที่นำเลือดที่มีออกซิเจนไปสมอง. หลอดเลือดตีบเกิดขึ้นใน 5 ใน 1,000 ในคน 50 - 60 ปีและ พบได้บ่อยในผู้สูงอายุ 100 จาก 1,000 คนแก่กว่า80

โรคหลอดเลือดหัวใจ (CHD) เป็นสาเหตุหลักของการเสียชีวิตและโรคในประเทศสหรัฐอเมริกา แม้ว่าการออกกำลังกายเป็นประจำสามารถลดความเสี่ยงของโรคหัวใจและหลอดเลือด (CV) เช่น CHDและความดันโลหิตสูง (hypertension) หลายคนไม่ออกกำลังกาย.

หลอดเลือดแดงใหญ่เป็นหลอดเลือดขนาดใหญ่ที่สำคัญติดอยู่ทางด้านซ้าย ด้านข้างของหัวใจ หลอดเลือดขนาดกลางอื่น ๆจากเส้นเลือดแดงใหญ่ ซึ่งนำเลือดและออกซิเจนไปยังร่างกาย Coarctation เป็นการตีบของหลอดเลือดแดงเอออร์ตาผิดปกติ

กล้ามเนื้อหัวใจตาย (MI) หรือหัวใจวาย หมายถึง หัวใจกล้ามเนื้อได้รับบาดเจ็บหรือเสียชีวิตเพราะไม่เพียงพอ ออกซิเจนเนื่องจากหลอดเลือดแดงอุดตัน แพทย์มักให้เหตุผลอาการของโรคหัวใจต่อปัจจัยอื่น ๆ ในผู้ป่วยหญิง และผู้หญิงมักไม่เชื่อว่ามี MI และเข้ารับการรักษาล่าช้าเกือบครึ่งนึงที่เสียชีวิตจากหัวใจวายครึ่งหนึ่งของการเสียชีวิตของ MI ผู้หญิงก็มีแนวโน้มที่จะมีอายุนานกว่าประมาณ 10 ปีในผู้ชายที่มี MI และมักมีโรคเรื้อรังอื่น ๆ ด้วย

ไตรกลีเซอไรด์เป็นไขมันชนิดหนึ่ง (ลิปิด) ที่พบในเลือดมากที่สุดในร่างกาย คอเลสเตอรอลเป็นอีกชนิดหนึ่ง เก็บไว้ในเซลล์ไขมันเพื่อใช้ในภายหลัง ไตรกลีเซอไรด์เป็นพลังงานหลักหากกินปริมาณปกติมีความสำคัญต่อสุขภาพที่ดี แต่การกินไขมันมากกว่าที่ร่างกายเผาผลาญอาจนำไปสู่ระดับไตรกลีเซอไรด์สูง(ภาวะไขมันในเลือดสูง

hypertrophic obstructive cardiomyopathy เป็นโรคกล้ามเนื้อหัวใจ ทำให้ไม่สามารถปั๊มเลือดไปสู่หัวใจได้ปกติ บางครั้งมีอาการการเต้นจังหวะหัวใจผิดปกติได้ จะมีอาการเมื่อเกิดการสร้างกล้ามเนื้อหัวใจที่หนาตัวผิดปกติ โดยเฉพาะ หัวใจห้องล่างซ้ายทำให้ห้องเล็กลง ทำให้มีปัญหาการบีบตัวส่งเลือด ทำให้มีความเสี่ยงที่จะเกิดอาการ แน่นหน้าอก เป็นลม หายใจเหนื่อย อาจถึงเสียชีวิตกระทันหันได้ มีผลกับทั้งผู้ใหญ่และเด็ก

Congestive heart failure เป็นภาวะหัวใจไม่สามารถปั๊มเลือดไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของร่างกายได้ เลือดท้นกลับทำให้เกิดน้ำบริเวณหัวใจที่ผิดปกติและไม่สามารถระบายสู่เส้นเลือดได้ ถึงแม้หัวใจห้องซ้ายจะล้มเหลว แต่สามารถมีอาการของของหัวใจห้องขวาล้มเหลวได้เช่นกัน

complete heart block ห้องหัวใจมี4ห้อง ห้องบนสองห้องและล่างสองห้อง และห้องบนขวามี SA node ที่เป็นตัวส่งสัญญาณไฟฟ้ามาห้องล่างซ้ายและเข้าสู่ AV node เกิดขึ้นระหว่างห้องบนเอเตรียมและล่างเวนทริเคิล ซึ่งกระแสไฟฟ้าถูกรบกวน ซึ่งThird-degree AV block (Complete Heart Block) เกิดขึ้นจะทำให้กระแสไฟฟ้าส่งผ่านจากห้องบนลงมาห้องล่างได้เลย

Atrial septal defect เกิดรูรั่วบนหัวใจห้องบนระหว่างห้องซ้ายและขวา หัวใจบนซ้ายมีแรงดันสูงกว่าด้านขวา ทำให้เลือดทั้งสองฝั่งโอกาสผสมกันแล้วนำเลือดที่ออกซิเจนต่ำไปตามร่างกายได้ และเป็นการเพิ่มความดันในปอดสูงขึ้น พบในเด็กหญิงมากกว่าชาย มีผลต่อการเจริญเติบโต ซึ่งเป็นโรคผิดปกติตั้งแต่กำเนิด ไม่สามารถป้องกันได้

atrial fibrillation เป็นภาวะที่มีจังหวะหัวใจที่เต้นผิดปกติ เนื่องจากเซลล์กล้ามเนื้อหัวใจส่งกระแสไฟฟ้าที่ผิดปกติ จะเต้นเร็ว และไม่สม่ำเสมอ ทำให้เกิดเป็นลิ่มเลือด วิ่งไปตามหลอดเลือดและอุดตัน หัวใจด้านล่างทำงานหนักมาก อาจส่งผลทำให้หัวใจล้มเหลวได้

aortic insufficiency หลอดเลือดเอออตาร์ออกจากหัวใจด้านซ้ายล่าง และลิ้นหัวใจเอออตาร์กั้นระหว่างหลอดเลือดแดงและหัวใจล่างซ้าย ลิ้นเอออตาร์รั่วเลือดจะท้นกลับมาทำให้หัวใจห้องล่างโตขึ้น

aortic insufficiency หลอดเลือดเอออตาร์ออกจากหัวใจด้านซ้ายล่าง และลิ้นหัวใจเอออตาร์กั้นระหว่างหลอดเลือดแดงและหัวใจล่างซ้าย ลิ้นเอออตาร์รั่วเลือดจะท้นกลับมาทำให้หัวใจห้องล่างโตขึ้น

abdominal aortic aneurysm หลอดเลือดแดงบริเวณส่วนท้องโป่งพองซึ่งหลอดเลือดแดงนี้รับเลือดจากหัวใจกระจายไปสู่อวัยวะต่าง ๆ และเนื้อเยื่อส่วนล่างของร่างกาย หลอดเลือดเอออร์ตานี้เป็นหลอดเลือดที่ใหญ่ที่สุดในร่างกาย การปกครองหรือการแข็งตัวของหลอดเลือดนี้สามารถแตกได้หากไม่ทำการรักษา ส่วนใหญ่มักเกิดในคนอายุมากกว่า 60 ปีเกิดในเพศชายมากกว่าเพศหญิง

ไตรคัสปิดอยู่ระหว่างห้องบนขวา และล่างขวา ในหัวใจ ลิ้นหัวใจเปิดเมื่อเลือดจากห้องบนลงไปห้องล่าง และเกิดการสะท้อนกลับไปห้องบนจึงเป็นสาเหตุให้หัวใจห้องบนทำงานหนัก

เป็นมะเร็งต่อมน้ำเหลืองชนิดหนึ่ง ต่อมน้ำเหลืองทำหน้าที่ป้องกันร่างกายจากการติดเชื้อ นอกจากนี้ยังมีเม็ดเลือดขาว ม้ามอีกด้วย ประมาน 80%สามารถรักษาหายได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อรักษาตั้งแต่เนิ่น ๆ

เกิดจากที่ร่างกายได้รับธาตุเหล็กในร่างกายไม่เพียงพอที่จะสร้างเม็ดเลือดแดง

คือภาวะที่กระแสไฟฟ้าหัวใจเพิ่มผิดปกติ การเต้นของหัวใจเร็วผิดปกติ พบบ่อยในกลุ่มคนอายุ20ปี และเป็นสาเหตุของหัวใจเต้นเร็วในเด็กและทารก

เกิดจากรูรั่วของห้องหัวใจห้องล่างระหว่างสองห้อง แรงดันห้องซ้ายมากกว่าห้องขวา เลือดจึงเข้าไปผสมกัน และออกซิเจนที่ไปเลี้ยงร่างกายน้อยลง ส่วนหัวใจห้องล่างขวาจะเกิดแรงดันกลับไปห้องซ้ายทำให้เพิ่มแรงดันในหลอดเลือดของปอดมากขึ้น VSDs

เป็นโรคเกี่ยวกับหลอดเลือดเล็กและกลางของขาและแขน การอักเสบขึ้นอยู่กับแผลเป็นและการอุดตันของเส้นเลือด ทำให้เลือดไปเลี้ยงบริเวณนั้นน้อย เกิดในผู้ชายอายุน้อยกว่า50ปีที่ติดบุหรี่

เกิดจากเส้นเลือดเส้นประสาทตรงบริเวณ brachial plexus ถูกกด ซึ่งเป็นบริเวณระหว่างไหปลาร้าและซี่โครงที่ที่เลือดผ่านไปแขนจากลำคอ อาการขึ้นอยู่กับเส้นประสาท เส้นเลือดแดงดำ ที่ถูกกด อาการพบได้บ่อยในหญิง 20-50ปี พบน้อยในเด็กต่ำกว่า 20

การเต้นของหัวใจเร็วมากกว่าปกติ ทำให้หัวใจเติมเลือดได้ไม่เต็มที่ เต้น 150–250ครั้งต่อนาที จากปกติ 60-100ครั้งต่อนาที SVT คือรวมไปถึงหัวใจเต้นพริ้วที่เป็นมานาน ๆ หรือเรียกว่า AFIB เป็นชนิดที่เจอได้บ่อย และชนิดอื่น ๆ AVNRT AVRT Wolff-Parkinson-White syndrome SVTพบได้ทั้งหญิงและชาย

หนึ่งในปัญหาการนอนไม่หลับ คือการอุดตันทางเดินหายใจจากกล้ามเนื้อที่หย่อนหรือ OSA central sleep apnea หรือ อ้วน จะมีช่วงหยุดหายใจเป็นเวลาสั้นๆประมาน10-30วินาที จะเกิดหลายครั้งขณะนอนหลับ เกิด 4%ในชายวัยกลางคน และ 2%ในผู้หญิง ถือว่าเป็นภาวะที่มีผลต่อหัวใจและหลอดเลือด

คือ ความดันสูงในเส้นเลือดในปอดและ หัวใจห้องขวา เกดิจากลิ่มเลือดเล็ก ๆ เข้าไปอุด ทำให้หัวใจปั๊มเลือดเข้าปอดไม่ได้ ส่งผลให้หัวใจทำงานหนักและล้มเหลวในที่สุด อีกหนึ่งสาเหตุเกิด PH คือ โรคลิ่มเลือดอุดตัน หรือthromboembolic disease (TED) เคลื่อนที่ไปอุดที่หลอดเลือดในปอด

โรคของลิ้นไมทรัล เช่นลิ้นไมทรัลตีบ ลิ้นไมทรัลรั่ว ลิ้นไมทรัลปลิ้น ซึ่งลิ้นตีบคือเกิดจากลิ้นตีบจากมีการเกาะของหินปูนหรือลิ้นแข้งทำให้ลิ้นไม่สามารถเปิดได้เต็มที่ ส่วนลิ้นรั่วเกิดจากลิ้นปิดไม่สนิท ดังนั้นเลือดจะย้อนกลับไปห้องบน ลิ้นปลิ้นเป็น 1 หรือ 2ไปสู่ ห้องบน ลิ้นหัวใจปลิ้นเป็นลิ้นที่เกิดตั้งแต่เด็ก และเกิดภาวะแทรกซ้อนได้เช่น endocarditis และ MVR แบบรุนแรง

คือการที่หัวใจส่งกระแสไฟฟ้าที่ผิดปกติ ซึ่งชื่อมาจากกราฟบนEKG เป็นกระแสเล็ก ๆ ที่เกิดขึ้นกระตุ้นกล้ามเนื้อหดตัว และขณะกล้ามเนื้อหัวใจคลายตัว เซลล์อยู่ในรูปแบบ repolarized ทำให้เกิดการรบกวนการเต้นของหัวใจ เร็วและรวนได้ อาการเกิดบ่อยในเด็กและวัยรุ่น อายุ 8-20ปี

เป็นภาวะที่มีลมรั่วออกมาจากช่องปอด โดยปกติจะของเหลวอยู่เล็กน้อยเพื่อป้องกันผิวปอดติดกับช่องอก ซึ่งทำให้ปอดขยายตัวได้ดี หากมีลมรั่วไปในเยื่อหุ้มปอดอาจทำให้ถุงลมปอดแฟบลง

ไส้ติ่งเป็นลำไส้ส่วนปลายของลำไส้ใหญ่ส่วน ลำไส้ซีกัม สามารถเกิดการบวมและอักเสบได้หากมีการติดเชื้อ และอาจรุนแรงถึงแก่ชีวิตได้ ไส้ติ่งอักเสบเกิดขึ้นในกลุ่มคนอายุ 10-30ปี

เกิดจากลำไส้หรือก้อนไขมันไหลลงผ่านผนังหน้าท้องที่อ่อนแอลงมาด้านในต้นขา พบได้บ่อยในหญิงมากกกว่าชาย

เกิดจาการอุดตันทางเดินของปัสสาวะที่จะขับสู่ภายนอกทำให้ไตบวมน้ำ สามารถรักษาหายได้ขึ้นอยู่กับสาเหตุ ภาวะแทรกซ้อนเช่น การติดเชื้อกระเพาะปัสสาวะ ความดันสูง ไตวาย ขาดน้ำ

เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้